ภาคอุตสาหกรรมอาหารในด้านความปลอดภัยอาหารและ คุณภาพอาหาร และอยู่ภายใต้บริบทของการบูรณาการกับ อาเซียน อันเป็นกระบวนการที่เริ่มในปี พ.ศ. 2558

้วยการยึดสิ่งเหล่านี้เป็นหลัก โครงการ AsiFood จึงมีวัตถุประสงค์ดังน

  • พื่อปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างสถาบ อุดมศึกษากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ผู้ผลิตและผู้ค้าปลีก ผู้ มีอำานาจในด้านสุขภาพ ลูกค้า เป็นต้น) ซึ่งเป็นก้าวแรก และก้าวสำาคัญสำาหรับการบูรณาการสถาบันอุดมศึกษา เข้าไปในสามเหลี่ยมปิรามิดแห่งความรู้ (knowledge triangle) ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภาค การผลิตที่เข้มแข็งขึ้นจะนำาไปสู่การพัฒนาโปรแกรม การศึกษาและวิจัยท่ีมีประโยชน์และมีประสิทธิผล การนำาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมืออาชีพร่วมเป็นคณะ กรรมการของสถาบันอุดมศึกษา การร่วมให้คำาปรึกษา ในการจัดหางานให้นักศึกษาในโรงงานแปรรูปอาหาร และบริษัท และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากภาคการผลิตในการสอนวิชาในหลักสูตร..
  • เพื่อนำาวิธีการศึกษาความต้องการการฝึกอบรมและ วิธีการสร้างรายวิชามาใช้กับสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วม โครงการเพื่อประกันว่าหลักสูตรใหม่หรือปรับปรุง ใหม่นั้น ได้รับการพัฒนาหรือปรับปรุงให้สนองความ ต้องการและความคาดหวังของภาคเศรษฐกิจและผู้ม ส่วนได้ส่วนเสียในภาคการผลิต/อุตสาหกรรม โดยการ ใช้โครงการ AsiFood ในระดับคณะและระดับสถาบัน อุดมศึกษา จุดประสงค์ระยะยาวเพื่อให้วิธีการนี้พร้อม ใช้ในการสร้างและปรับการฝึกอบรมทุกประเภท.
  • พื่อเพิ่มความรู้และทักษะของอาจารย์ด้วยการใช.อุปกรณ์ ทรัพยากร และวิธีการสอนใหม่ และสร้างสรรค์ การนำาไปใช้และการเผยแพร่โมดุลการฝึกอบรมแบบ สหสาขาวิชาด้านความปลอดภัยอาหารและการจัดการ คุณภาพอาหาร “จากฟาร์มสู่ปาก” สามโมดุล ซึ่งแต่ละโม ดุลจะมีสิบถึงสิบห้า ectS ทั้งนี้เป็นเพราะความร่วม มือที่มุ่งมั่นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมืออาชีพ ประมวล รายวิชาในปัจจุบันจึงได้รับการปรับให้สอดรับกับความ ต้องการและความคาดหวังของภาคส่วนนี้ โปรแกรม บัณฑิตศึกษาที่พัฒนาโดยแต่ละสถาบันอุดมศึกษาที่ ใช้โมดุลเป็นฐานจะช่วยอำานวยความสะดวกให้กับการ แลกเปลี่ยนนักศึกษาและอาจารย์ระหว่างสถาบันใน ประเทศที่ร่วมโครงการ.
  • เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ในอาเซียน รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาในเอเชียและ ยุโรปในด้านความปลอดภัยอาหารและการจัดการ คุณภาพอาหารให้เข้มแข็ง อาจารย์-นักวิจัยได้กลาย เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของสามเหลี่ยมปิรามิดแห่ง ความรู้ (knowledge triangle) และการแลกเปลี่ยน ระหว่างอาจารย์และนักวิจัยเอเชียและยุโรปได้ก่อให เกิดประโยชน์ใหญ่หลวงต่อทุกฝ่าย. .