AsiFood aims to help modernise education in the context of ASEAN integration through the creation of new masters programmes in food safety and food quality. The project is motivated by the following considerations:

ผลของโรคระบาดอันเนื่องมาจากอาหารซึ่งส่วนใหญ่เชื่อม โยงกับความปลอดภัยอาหาร มีผลต่อสุขภาพ คุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่กำาลัง พัฒนา ในช่วงปีหลังๆ นี้ มีอุบัติการณ์ และการระบาดของ โรคหลายครั้งในเอเชีย (เช่น เมลานินในนมผง ไวรัสอีโบลา เรสตันในสุกร โรคท้องร่วงจากของหมักดอง สารปนเปื้อน กลุ่ม chloropropanols ในซีอิ๊วขาว เป็นต้น) และโรคอัน เกี่ยวเนื่องกับการท้องร่วงก็ยังคงปรากฏอยู่ ซึ่งมีสาเหตุใน หลายระดับของห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่ระดับฟาร์มจนถึงขั้น

ตอนการแปรรูป และผู้ค้าปลีก ยิ่งไปกว่านั้น ความต้องการ อาหารในเอเชียก็กำาลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยคาดว่าจะ เติบโตขึ้นกว่า 77%ในปี พ.ศ. 2593 การเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วจากการเกษตรแบบใช้พื้นที่กว้างขวางมาเป็นการ เกษตรแบบใช้พื้นที่น้อยได้นำาไปสู่การใช้เคมีภัณฑ์อย่างไม่ ถูกต้อง (ปุ๋ยเคมีและยาปราบศัตรูพืช) ในขณะที่ระดับความ เจริญเติบโตเพิ่มอย่างรวดเร็ว วิธีการปฏิบัติก็มีการควบคุม น้อยลง เช่น ในประเทศกัมพูชา ประมาณ 90% ของยา ปราบศัตรูพืชและปุ๋ยนั้นนำาเข้าอย่างไม่ถูกกฎหมาย และ บ่อยครั้งสารตกค้างในผักอยู่ในระดับสูงกว่าระดับที่แนะนำา
โปรแกรมบูรณาการของอาเซียนได้จัดให้ความปลอดภัย อาหารอยู่ในระดับความสำาคัญอันดับต้นๆ ของสิบสองอันดับ ในปัจจุบัน มีการส่งเสริมด้านความปลอดภัยอาหารอย่าง เข้มแข็งในเวียดนาม :ซึ่งอนุมัติกลยุทธ์ด้านอาหารปลอดภัย แห่งชาติสำาหรับปี พ.ศ. 2554-2563 กลยุทธ์นี้มุ่งปรับปรุง ข้อมูลที่ให้กับประชากร ยิ่งไปกว่านั้นได้มีการพัฒนาหลาย โครงการเพื่อปรับปรุงนโยบายที่บังคับใช้อยู่และงานของ สถาบันที่ทำางานด้านความปลอดภัยอาหาร รวมทั้งทักษะและ การปฏิบัติงานของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอาชีพ กฎหมาย ของชาติเกี่ยวกับความปลอดภัยด้านอาหารที่เกิดขึ้นนั้นเป็น สิ่งสำาคัญที่สุดของอาเซียน แต่ยังมีเกณฑ์อื่นๆอีก เช่น การฝึก อบรมเรื่องกระบวนการผลิตและการตลาด และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น แม้พบว่าสิ่งเหล่านี้ดำาเนินไปใน ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกของอาเซียน มาตรฐานของการ ควบคุมดูแลและประสิทธิผลของการบังคับใช้กฎระเบียบมี ความแตกต่างกันระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน ดังนั้น จึง จำาเป็นที่ต้องมีความเข้าใจที่ตรงกันเกี่ยวกับความปลอดภัย อาหารระหว่างประเทศที่ผลิตอาหารเพื่อส่งออกหลักๆของ เอเชียเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและเพื่อนำากฎระเบียบ ที่มีประสิทธิภาพมาใช้

แรงผลักดันด้านเศรษฐกิจเป็นแรงผลักรุนแรงสำาหรับ กิจกรรมทางการเมือง การวิจัยที่จัดทำาโดยรัฐบาลกัมพูชาที่ ให้ความสำาคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างความเจริญเติบโต ด้านเศรษฐกิจ ข้อตกลงทางการค้า และความปลอดภัย อาหาร ได้เสนอว่าควรมีการจัดตั้งหน่วยงานระดับประเทศ eurocham ซึ่งเป็นหอการค้ายุโรปก็ได้ให้ข้อเสนอแนะ เดียวกันกับรัฐบาลเวียดนาม ในประเด็นของการส่งออกซึ่ง มียอดการส่งออกลดลงทั่วทั้งภูมิภาคเนื่องมาจากวัตถุดิบและ อาหารที่ไม่เหมาะสำาหรับการบริโภคและระบบการจัดการ คุณภาพที่ไม่เหมาะสม บริษัทแปรรูปอาหาร โดยเฉพาะ

บริษัทขนาดกลางและขนาดเล็กต้องเผชิญกับปัญหาในการ ปรับตัวให้เข้ากับข้อกำาหนดและระบบการจัดการคุณภาพ อาหารเพื่อส่งออกผลิตภัณฑ์ของตน ตลาดท้องถิ่นก็ต้อง เผชิญกับปัญหาผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดที่ไม่เหมาะสำาหรับ การบริโภค ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสาธารณสุข สิ่งนี้เกิดขึ้น มากกว่า 49% ในเวียดนาม และทั้งที่มีการพัฒนาในภาค ส่วนนี้ รายได้ของเกษตรกรก็ยังคงอยู่ในระดับต่ำาและคาด การณ์ไม่ได้เนื่องมาจากความไม่แน่นอนเกี่ยวกับคุณภาพ และปริมาณของผลผลิตทางการเกษตร

 

ดังที่ได้ชี้ให้เห็นข้างต้น ปัญหาด้านความปลอดภัยและ คุณภาพอาหารขึ้นอยู่กับข้อจำากัดด้านปริมาณและคุณภาพ ที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการความปลอดภัยอาหาร ปัญหา หลักที่เกิดขึ้นเป็นเพราะมาตรฐานที่แตกต่างกันของความ เชี่ยวชาญของคณะผู้ทำางาน ซึ่งไม่สามารถทำาตามกฎที่ระบุ โดยผู้เชี่ยวชาญในการฝึกอบรมในสาขาของตนได้ และใน หลายกรณี ไม่มีโอกาสที่จะเข้ารับการฝึกอบรมสำาหรับการ เป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ เป็นเรื่องปกติที่คนคนหนึ่งจะ เข้าใจความสำาคัญของการปฏิบัติงานที่ตนรับผิดชอบ แต่ก็ ไม่อาจมองเห็นภาพรวมของโลกด้านสายการผลิตอาหาร ทั้งหมด ยิ่งไปกว่านั้น ผู้มีอำานาจด้านการตรวจสอบมี จำานวนน้อยและอยู่ห่างกันและโดยทั่วไปแล้วไม่เพียงพอ สำาหรับประเทศในเอเชีย กรณีดังกล่าว เช่น เป้าประสงค์ ของเวียดนามสำาหรับผู้มีอำานาจในการตรวจสอบในปี พ.ศ. 2553 คือให้มีผู้ตรวจการด้านอาหารหนึ่งคนต่อผู้อยู่อาศัย 10,000 คน นอกจากนั้น การฝึกอบรมส่วนใหญ่ที่จัดใน ภาคอุตสาหกรรมและในระดับอุดมศึกษายังไม่ได้ปรับให้ สอดรับกับความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียมืออาชีพ
การศึกษาวิจัยของ dG Sanco’s educational pro-gramme ในโครงการ การฝึกอบรมที่ดีกว่าเพื่ออาหาร ที่ปลอดภัยกว่า (BtSF, “Better training for Safer Food”) นั้นน่าสนใจเป็นพิเศษ และได้ผลดีหลายอย่าง อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้ก็มุ่งเฉพาะโรงงานแปรรูปอาหาร โดยให้ความสนใจเพียงเล็กน้อยกับการอุดมศึกษา ใน ประเทศกัมพูชา มีการศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้โดยสำานักงานการ อุดมศึกษาของกัมพูชา ได้เน้นการขาดแคลนด้านทรัพยากร มนุษย์ ซึ่งมีความจำาเป็นต้องมีการฝึกอบรมบุคลากร และการ ออกแบบรายวิชาในด้านการแปรรูปอาหาร เกษตรกรรม

และความปลอดภัยอาหาร ในประเทศเวียดนามมีความ ขาดแคลนการฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางในระดับมหา บัณฑิต โดยมีการจัดทำาหลักสูตรระดับปริญญาโทครั้งแรก ในด้าน “เทคโนโลยีอาหาร” ในปี พ.ศ. 2556 ที่ VNUA โดย เน้นที่ความปลอดภัยอาหารและการจัดการคุณภาพอาหาร
ดังนั้น ในอาเซียนความปลอดภัยอาหารจึงถือเป็นเรื่อง สำาคัญและสำาคัญระดับโลก วัตถุประสงค์หลักของโครงการ AsiFood เพื่อจัดการกับเรื่องนี้ไปทั่วโลกด้วยการฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมายที่มีตั้งแต่นักศึกษา (ระดับปริญญาตรีและสูง กว่า) ไปจนถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมืออาชีพและคณะทำางาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในภาคเอกชนและรัฐบาล โครงการ AsiFood ให้ความสำาคัญกับเรื่องที่ยังไม่ได้ดำาเนินการด้วย เช่น ความจำาเป็นในการจัดการเรื่องความปลอดภัยอาหาร ภายในกรอบของกลยุทธ์ระดับโลกสำาหรับห่วงโซ่การจัดหา อาหาร นอกจากนี้ เมื่อดูความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ กำาหนดโดยอาเซียนในปี 2558 โครงการนี้เป็นการตอบ สนองโดยตรงต่อความจำาเป็นที่จะประนีประนอมวิธีการใน การจัดการเรื่องความปลอดภัยอาหารในระดับภูมิภาคหรือ ระดับชาติ ด้วยการแนะนำาให้รับมาตรฐานสากลและจัดการ ฝึกอบรมให้สถาบันอุดมศึกษา และบริษัทต่างๆ สำาหรับผู้ จัดการระดับนานาชาติ เมื่อมองด้านนี้ อาจถือได้ว่าโครงการ AsiFood เป็นโปรแกรมทางวิชาการและยังเป็นโครงการ เสริมสร้างความสามารถที่ควรส่งเสริมในสถาบันอุดมศึกษา และบริษัทต่างๆ (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SMes) รวมทั้งหน่วย งานของอาเซียนในโครงสร้างเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับองค์กร ต่าง ๆ และหน่วยงานของยุโรป

นึ่งในสาเหตุหลักของคุณภาพอาหารและความปลอดภัย อาหารที่อยู่ในระดับต่ำา ซึ่งพบได้ในประเทศที่ร่วมโครงการ คือการขาดแคลนผู้ร่วมทำางานที่มีคุณสมบัติครบถ้วน อันเนื่องมากจากการขาดแคลนหลักสูตรการฝึกอบรมผู้ เชี่ยวชาญในระดับอุดมศึกษา โครงการ AsiFood ได้แสดง ถึงการขาดแคลนความสัมพันธ์ใกล้ชิดในระดับประเทศ ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในเอเชียกับภาคอุตสาหกรรม อาหาร ซึ่งหมายความว่าหลักสูตรฝึกอบรมและหลักสูตร ที่มีอยู่ไม่ตรงกับความต้องการและความคาดหวังของภาค อุตสาหกรรม และหมายความว่าบัณฑิตที่อยู่ในตลาดงาน ไม่มีทักษะในระดับที่ต้องการ ัตถุประสงค์ของโครงการ AsiFood คือช่วยสถาบัน อุดมศึกษาในเวียดนาม ไทย และกัมพูชาสร้างสมรรถนะ และผลักดันส่งเสริมสัมพันธภาพกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน